สารเคมีอันตราย วัตถุอันตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบ ที่มีคุณสมบัติเป็นพิษหรือเป็นอันตรายต่อคน สัตว์ พืช และทำให้ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม สามารถจำแนกได้เป็น 9 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด
ประเภทที่ 2 ก๊าซ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ
ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ
ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดส์และออร์แกนิคเปอร์ออกไซค์
ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ
ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี
ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน
ประเภทที่ 9 วัตถุอื่นๆที่เป็นอันตราย
ทราบว่าเป็นสารอันตรายได้อย่างไร
ประเภทของไฟ ตามมาตรฐาน NFPA 10 แบ่งได้ 5 ประเภท คือ
1. ไฟประเภท A สัญญลักษณ์ ตัวอักษร A อยู่ในรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า พื้นสีเขียว ตัวอักษร สีดำ
เมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ เกิดขึ้นก็อาจมีผู้ได้รับบาดเจ็บซึ่งอาจจะเป็นประชาชนผู้ประสบภัย หรือ ตัวเจ้าหน้าที่ดับเพลิง ที่เข้า ปฏิบัติหน้าที่เอง และที่หน่วยพยาบาลพบก็จะมีอาการสำลักควันไฟ และไฟไหม้ผิวหนังที่ห่อหุ้มปกคลุมร่างกายของเราเมื่อผิวหนังถูกทำร้ายด้วยความร้อนเกิดเป็นแผลไหม้จะะทำให้เกิดอันตรายตั้งแต่น้อยจนถึงเสียชีวิตได้แผลไหม้เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายสัมผัสกับความร้อนสารเคมี กระแสไฟฟ้าหรือรังสีมากเกินไป ทำให้ผิวหนังไหม้ เนื้อเยื่อถูกทำลาย หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้องทันทีความรุนแรงของแผลไหม้ก็ยิ่งจะมีผลต่อผู้ประสบภัยมากขึ้นเท่านั้น การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
หลักการปฐมพยาบาลไฟไหม้และน้ำร้อนลวก
ในช่วงเทศกาลลอยกระทงของทุกปี จะมีการผลิตสะสม จำหน่าย การเล่นดอกไม้เพลิง และโคมลอย ตลอดจนพลุต่างๆ เป็นประจำ และพลุหรือดอกไม้เพลิง มีส่วนประกอบที่เป็นวัตถุระเบิด จึงอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุ เสี่ยงต่อการเกิดเหตุเพลิงไหม้อันนำมาซึ่งความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
อ่านเพิ่มเติม: พลุ ดอกไม้เพลิง โคมลอย ประทัด เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้
มี 6 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์